ข้อ ๒๒ ให้เจ้าของอาคารตามมาตรา ๓๒ ทวิ แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๓ มีหน้าที่ในการจัดให้มี การตรวจบํารุงรักษาอาคารและอุปกรณ์ประกอบของอาคารตามคู่มือปฏิบัติของผู้ผลิตหรือผู้ติดตั้งระบบและอุปกรณ์ของอาคาร หรือตามแผนปฏิบัติการการตรวจบํารุงรักษาที่ผู้ตรวจสอบกําหนด และจัดให้มีการบันทึกข้อมูลการตรวจบํารุงรักษาอาคารตามช่วงระยะเวลาที่ได้กําหนดไว้
หลักการทำงานของระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ l องค์ประกอบของระบบแจ้งเหตุ
มาตรฐานการติดตั้งระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้
ติดตั้งในตำแหน่งที่มองเห็นได้ง่ายจากทุกพื้นที่ และครอบคลุมทั้งพื้นที่
พื้นที่อับอากาศ เปิดเข้าพื้นที่ป้องกันได้ ไม่มีบริภัณฑ์ไฟฟ้าอยู่ภายใน ไม่ใช้เก็บของ และไม่มีชั้นวางของ
ข้อ ๑๖ ในอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่พิเศษต้องมีระบบสัญญาณเตือนเพลิงไหม้ทุกชั้น ระบบสัญญาณเตือนเพลิงไหม้อย่างน้อยต้องประกอบด้วย
ความสำคัญของการบำรุงรักษาระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้
โคมไฟฟ้าขนิดติดตั้งฝังในฝ้าเพดานที่มีเรือนหุ้มเป็นวัสดุที่ไม่ติดทนไฟ ไม่ถือเป็นบริภัณฑ์ไฟฟ้าของพื้นที่ปิดเหนือฝ้าเพดาน
การกาหนดพิกัดของแบตเตอรี่มีรายละเอียด ดังนี้
- more info จัดให้มีแผนการตรวจสอบอาคารฯประจําปี และแนวทางการตรวจสอบตามแผน
อุปกรณ์เสริมคืออุปกรณ์ที่ทำงานเชื่อมกับระบบอื่นๆ ของระบบแจ้งเตือนไฟไหม้ ทำหน้าที่เชื่อมสัญญาณไปยังระบบต่างๆ ของอาคาร เช่น
อบรม สารเคมีอันตรายและการระงับเหตุสารเคมีรั่วไหล
อาคารอาศัย และตึกแถว อาคารที่ก่อสร้างต่อเนื่องกันเป็นแถวยาวตั้งแต่สองคูหาขึ้นไป มีผนังแบ่งอาคารเป็นคูหาและประกอบด้วยวัสดุทนไฟเป็นส่วนใหญ่
ข้อ ๒๖ ผู้ประกอบกิจการโรงงานต้องจัดให้มีบุคลากรที่ปฏิบัติงานด้านความปลอดภัยของโรงงานดําเนินการตรวจความปลอดภัยด้านอัคคีภัยเป็นประจําอย่างน้อยเดือนละครั้ง โดยจัดทําเป็นเอกสารหลักฐานที่พนักงานเจ้าหน้าที่สามารถตรวจสอบได้ หากพบสภาพที่เป็นอันตรายที่อาจก่อให้เกิดเพลิงไหม้ได้ ต้องดําเนินการปรับปรุงแก้ไขโดยทันที